วันพฤหัสบดีที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2554

Graph

หลักการใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ (Capitalization)

หลักการใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ (Capitalization)
1) ใช้กับชื่อคนและสถานที่
เช่น Mary Jane, London, Elizabeth Street, New South Wales,
the Great Barrier Reef, the Botanic Garden
2) ชื่อที่ใช้เรียกคนและภาษาของประเทศต่างๆ หรือบางคำที่เกี่ยวข้องที่ดึงมาจากคำเหล่านั้น
เช่น Australian, Greek, Mandarin, Englishman, Americanize
3) ชื่อของสถาบัน, สมาคม, องค์กร และ สมาพันธ์
เช่น the Institutional of TAFE, the Royal Embassy, the Department of Agriculture,
the Arts Museum
4) ชื่อของสถาบันทางศาสนา, สำนัก, นิกาย หรือ บุคคลที่เลื่อมใส
เช่น Catholic, Islam, Judaism, Taoism
5) องค์กรหรือสถาบันทางสังคม
เช่น the Polo Club, the Japanese Student Societies
6) ชื่อของเดือนและวันสำคัญต่างๆ
เช่น September, Songran Day, Boxing Day
7) ชื่อในรูปแบบที่ปรากฎออกมาเป็นนามธรรม
เข่น the Proof of Life, Oh Dear
8)ฉาญาหรือสมญานาม
เช่น a Blue in University sport
9) ชื่อของสิ่งอื่นๆที่ไม่เป็นส่วนตัว
เช่น the Flying Scotsman
10) คำโบราณ หรือคำที่เกี่ยวข้องกับประเพณีในสมัยเก่า
เช่น Chauvinistic, Guillotine
11) ชื่อที่เป็นเครื่องหมายทางการค้า
เช่น Hoover, Xerox, Sony หรือชื่อที่มีความสัมพันธ์กับผู้ผลิต เช่น Jaguar, Spitfire
ศัพท์ เฉพาะบางคำเช่นชื่อ ที่เป็นกรรมสิทธิ์หรือเจ้าของกิจการซึ่งปัจจุบันจะขึ้นต้นด้วยอักษร
ตัว พิมพ์เล็ก เช่น baby buggy, biro, jeep
12) ใช้กับคำขึ้นต้นที่เป็นตำแหน่ง
เข่น His Royal Highness the Prince of Wales, President Carter, Sir John Smith,
Lord Chief Justice, Lieutenant-Colonel, Vice-President
13) ใช้กับบุรุษสรรพนาม ” I ” และ คำอุทาน Oh.
14)ใช้กับคำที่เกี่ยวกับพระเจ้า
เข่น God, Father, Allah, Almighty
15) ใช้กับคำ ๆ แรกหรือคำอื่น ๆ ที่มีความสำคัญของชื่อหนังสือ หนังสือพิมพ์ ละคร
ภาพยนตร์ และรายการทางโทรทัศน์ ชื่อหัวข้อ และบทความต่าง ๆ
เช่น The Catcher in the Rye, Sense and Sensibility, Book of Common Prayer,
New Testament, The Courier Mail, Guide to the Use of the Dictionary
16) ใช้กับยุคสมัยและเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
เช่น the Golden Ages, Early Minoan, the Renaissance, the Second World War
17) การแบ่งเวลาตามภูมิศาสตร์ ที่ไม่ใช่ตามแบบยุคทางโบราณคดี
เช่น Devonian, Palaeozoic (ไม่ใช้ใน neolithic)
18) ใช้ในการเขียนคำย่อที่มีหรือไม่มีเครื่องหมายมหัพภาค (Full stop) กำกับก็ได้
เช่น ASP, FAM., LCD
19) ใช้กับคำย่อที่บอกทิศทาง เช่น N., SE, NE หรือเมื่อต้องการบ่งชี้ถึงภูมิภาค
เช่น unemployment in the North
20) ใช้ขึ้นต้นบรรทัดของการเขียนกลอนในภาษาอังกฤษ
21) ใช้กับคำหรือชื่อเฉพาะอื่นๆได้ เช่น McDonald, O’Reilly เครื่องหมายการค้าและ
คำบางคำในภาษาต่างประเทศ
 

วันจันทร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2554

Capitalization and punctuations

สรุปการใช้เครื่องหมายต่างๆในภาษาอังกฤษ (Punctuation)

1)เครื่องหมาย full stop หรือ period ( . )
1.1) ใช้ในการจบประโยค ยกเว้นประโยคที่เป็นคำถามหรือประโยคอุทาน
เช่น – We will go for jogging tomorrow morning. After that we will have some-
lunch in the city.
1.2) ใช้ในคำย่อ
เช่น – etc. p.m. Sat.

2)เครื่องหมาย comma ( , )
2.1) ใช้ในการ แยกกลุ่มคำที่อยู่ในหมวดเดียวกันแต่จะถูกละหน้า and หรือ or
เช่น – My favorite fruit are strawberry, apple, papaya, pineapple and durian.
– You can choose fish, pork, beef or chicken for your main course.
2.2) ใช้ในการแยกกลุ่มคำหรืออนุประโยค
เช่น – If you concentrate and participate in class, take note and study hard-
before exam, you will not only pass but also get very good marks.
2.3) ใช้คั่นหน้าและหลังกลุ่มคำหรืออนุประโยคที่ขยายคำนามข้างหน้า
เช่น – The cityhall, which was built in 1853, will be reconstructed in next year.
2.4) ใช้คั่นระหว่างประโยคสองประโยคที่มี คำเชื่อม เช่น and, as, but, for, or
เช่น – I wanted to go to Fenny’s birthday party last night, but unfortunately-
I was busy with my work.
2.5) ใช้คั่นคำขึ้นต้นที่เป็นคำ, กลุ่มคำ, กริยา หรือกลุ่มคำที่เป็นกริยาช่วยที่ประยุกต์ใชักับประโยคทั้งประโยค
เช่น – As mentioned before, our organization will start the new management-
system next year.
– By the way, did you go to see “Blue” concert last night?

3) เครื่องหมาย colon ( : )
3.1) ใช้เพื่อแยกประโยคหลักเพื่อนำเข้าสู่กลุ่มคำที่อยู่ในหมวดหมู่นั้นที่เป็น ลำดับขั้นตอนหรือเป็นเหตุเป็นผล
เช่น – These are our company long-term goals: to spread our product in Asian-
market especially HongKong, Taiwan and China; and to increase 3 % in-
sale volume.
– You have only two choices: go to Chiang Mai with us; or stay home with-
your family.
3.2) ใช้เพื่อขยายกลุ่มคำหรืออนุประโยคกับประโยคหลัก ซึ่งเป็นการเขียนแบบเป็นทางการ
เช่น – The situation in Ethiopia is very serious: many people died because of starve.

4) เครื่องหมาย semicolon ( ; )
4.1) ในการคั่นประโยคสามารถใช้ semicolon แทนเครื่องหมาย comma ( , )
ได้หากประโยคนั้นมีเครื่องหมาย comma อยู่แล้ว
เช่น – He will follow through his aim; he will not care whatever the cost,
even it has effect on someone.
4.2) ใช้ในการเขียนที่เป็นทางการเพื่อคั่นระหว่างอนุประโยค2ประโยคที่ไม่มี
คำ เชื่อมแต่มีความหมายเกี่ยวเนื่อง
เช่น – It looks very cloudy today; it might rain soon.

5) เครื่องหมาย question mark (?)
5.1) ใช้วางท้ายสุดในประโยคคำถาม,
เช่น – Are you ready to go? Where have you been?
5.2) ใช้เฉพาะกับ วันเดือนปี เพื่อความสงสัย
เช่น – John Marston (?1575-1634)

6) เครื่องหมาย exclamation (!)
ใช้วางหลังประโยคเพื่อแสดงอาการ ตื่นเต้น ดีใจ โกรธ หรือ ตกใจ หรือประโยคคำสั่ง
เช่น – That’s so great!
– What! It’s impossible.
– Go to your bed!

7) เครื่องหมาย apostrophe (‘)
7.1) ใช้คู่กับ s เพื่อแสดงความเกี่ยวดองหรือเป็นเจ้าของ
เช่น – Jane’s coat
– Joe’s girlfriend
– my sister’s friend
7.2) เพื่อทำให้รูปแบบสั้นขึ้นโดยใช้ละแทนตัวอักษรหรือตัวเลขนั้น
เช่น – He’s (He is)
– You’re (You are)
– They’d (would)
– the summer of’ 99 (1999)
7.3) บางครั้งใช้กับ s เพื่อทำให้เป็นรูปพหูพจน์ต่อจากตัวอักษรย่อหรือตัวเลขย่อ
เช่น – lend me your r’s
– during 1980′s

8)เครื่องหมาย hyphen (-)
8.1) ใช้ในการผสมคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป
เช่น – pipe-cleaner
– one-to-one
8.2) ใช้ในการสร้างคำใหม่จาก prefix (คำอุปสรรค) กับคำนามเฉพาะ
เช่น – pre-Neolism
– pro-European
8.3) ใช้คั่นระหว่างการเขียนเลขจำนวน 21 ถึง 99
เช่น – 69 sixty-nine
– 23 twenty -three
8.4)ใช้คั่นระหว่าง prefix ที่ลงท้ายด้วยสระซึ่งเป็นตัวเดียวกับคำขึ้นต้นของคำนามที่นำมาผสม
เช่น – co-ordinator
– pre-emption
8.5) ใช้เชื่อมคำๆเดียวที่อยู่ต่อกันระหว่างบรรทัด
เช่น – We may choose to withdraw and protect ourselves from pain.

9) เครื่องหมาย dash (–)
9.1) ใช้ในการเขียนอย่างไม่เป็นทางการ แทนเครื่องหมาย colon หรือ semicolon
เพื่อบ่งชี้ว่าข้อความที่ตามมานั้นเป็นบทสรุปจากข้อความที่กล่าวมาข้างหน้า
เช่น – Lucy looks very happy today and so do Paul-they are in love.
9.2) ใช้คั่นระหว่างคำวิจารณ์ หรือ ความคิดที่เพิ่มเติมในภายหลัง
เช่น – He knows every scope of this job— or he did it before.


10) เครื่องหมาย dots หรือ ellipsis (…)
ใช้เพื่อละความยาวของข้อความ มักจะเป็นข้อความที่อ้างอิงมาจากผู้อื่นหรือ
บท สนทนาที่มีความยาว
เช่น “Romance not only light a candle or bring home flowers, it builds
bridge of friendship, caring …to the arms of his or her eager love.”
( Yagel: 19, 1995)

11) เครื่องหมาย slash หรือ oblique ( / )
ใช้คั่นระหว่าง คำที่เสนอวิธีเลือกหรือกลุ่มคำ
เช่น – have a coffee/ tea /or orange juice
– shirt/ pants/ blouse/skirt

12) เครื่องหมาย quotation marks (‘ ‘, ” “)
12.1) ใช้ล้อมคำและเครื่องหมายในประโยค direct speech (คำพูดทางตรง)
เช่น – ‘What time will he arrive here?’ John asked.
– ‘Around 6.00 p.m.’ Kate replied.
12.2) ใช้เพื่อดึงดูดความสนใจว่าคำนั้น แปลกไปจากบริบท มักใช้ใน ข้อความที่เป็นแสลง
หรือ คำที่บ่งชี้ความตรงกันข้ามกัน (irony)
เช่น – People look stress and lifeless in the country named ‘land of smile’.
12.3) ใช้เน้นคำเฉพาะที่เป็นชื่อบทความ, หนังสือ, โคลงกลอน, ละครหรือการแสดง
เช่น – I am going to see ‘Shakespeare in love’.
– Hemmingway’s ‘The old man and the sea’
12.4) ใช้ล้อมข้อความอ้างอิงสั้นๆหรือคำพูด
เช่น – One way to build a good communication is ‘sharing motions that we-
favor ignoring’
12.5) หากเป็นคำอ้างอิงที่ซ้อนอยู่ในประโยคอ้างอิงจะมีลักษณะการใช้ดังต้อไปนี้
เช่น – ‘Have you any idea,’ he said, ‘where “Ryan Street” is?’
(หรือ)
“Have you any idea,” he said, “where ‘Ryan Street’ is?”

13) เครื่องหมาย brackets หรือ parentheses ( )
13.1) ใช้เพื่อแยกข้อมูลพิเศษ หรือ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ภายในประโยคหรือท้ายประโยค
เช่น – Phi Phi Island (lies about 3 km from the mainland) comprises two islands.
– Kiwi now (originated from China) is a very famous fruit in NewZealand.
13.2) ใช้ล้อม การอ้างอิงไปยังหน้าอื่นของหนังสือ
เช่น – Body language is an important part of effective communication
(see next chapter).
13.3) ใช้ล้อมตัวเลข หรือ อักษรในข้อความ
เช่น – The main subjects in this chapter are (1) Strategic business unit-
(2) Strategic thinking process (3) Strategic evaluation.

วันพฤหัสบดีที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2554

Types of the sentence

Sentence Pattern 1
  1. I like.
  2. She ate.
  3. He can.
  4. I see.
  5. Turtle walk.
Sentence Pattern2
  1.  I like the dogs .
  2. I eat candy .
  3. I like to watching TV .
  4. He played football .
  5. We planted a tree.
 Sentence Pattern3
  1. She is a human.
  2. He is a doctor.
  3. He became a beggar.
  4. She is a nurse.
  5. cat is a mammal.
Sentence Pattern4
  1. Math is hard.
  2. Snake can be dangerous.
  3. She is calm.
  4. I am a beautiful smile.
  5. He is a handsome.
Sentence Pattern5
  1. Student gives the teacher flower.
  2. Those sheep  give the farmer good milk.
  3. He sold mas her white car.
  4. My father bought me some cookie.
  5. The teacher teach me about working.

วันจันทร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2554

Headlines and signs

 1. Charity event to raise funds for flood victims.

subject+infintive with to= Charity event will raise funds for flood victims.

2. Mudslide kills 10 in Krabi.

subject+present simple=Mudslide killed 10 in Krabi.

3. Women looking for Western husbands 'need legal advice'.

subject+present participle=Women is looking for Western husbands 'need legal advice'.

4.Water Still Rising.

subject+present participle=Water Still is Rising.

5.Plan to hire native English-speaking teachers.

subject+infintive with to=Plan will hire native English-speaking teachers.

คำย่อ

  1. CPR = cardiopulmonary resuscitation.
  2. GBC=General Border Committee.
  3. JBC=Joint Boundary Commission.
  4. ROH=regional operating headquarters.
  5. TFM=total facilities management.
  6. ERP= enterprise resource planning.
  7. BTSC=Bangkok Mass Transit System Ple.
  8. CSD= Crime Suppression Division.
 เครื่องหมาย












    วันพฤหัสบดีที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554

    Main Idea

    1. The private enterprise system is place system people are free to produce, buy and sell and start a new enterprise-business. 
    2. The market is place exchange of goods and services by buyers and sellers.
    3. The market determines the price of products by investigate cost production and demand of consumers.
    4. A supermarket has a supply the equilibrium price for manager a problem of tomatoes has multitude.
    5. The Organization of the Petroleum Exporting Countries  stopped sending oil to Western nations, so there was a shortage of gas and oil in many so countries looked for ways to use less gas and oil.

    การใช้ Dictionary

    การใช้ Dictionary



















    การ ใช้ Dictionary ง่าย ๆนะคะเราต้องรู้จักส่วนประกอบของ Dictionaryกันก่อนนะ ว่ามีกี่ส่วนประกอบ
    คำตอบง่ายๆ มี 7 ส่วน ประกอบนั้นเอง
    1. Headword is the first word of an entry in a dictionary. It is listed alphabetically. Headword คือ คำที่เราต้องการค้นหา หรือคำแรกที่ขึ้นต้นในหน้าที่เรากำลังค้นหานั้นเอง
    2. Part of speech deseribes the function of the word, for example; noun, verb, adjective of adverb. Part of speech คือ ส่วนประกอบของคำในภาษาอังกฤษ เช่น คำนาม คำสรรพนาม กริยา กริยาวิเศษ ถ้าเราเปิดดูคำศัพท์เราก็จะรู้ว่าคำนั้น เป็นคำอะไร แล้วส่วนประกอบของคำเป็นอย่างไร
    3. Pronunciation describes the way in which a word is pronounced. Pronunciation ก็คือการออกเสียง เวลาเราดู Dictionary เราสามารถดูได้ว่าคำนี้สามารถออกเสียงได้อย่างไร
    4. Meaning informs a word or words mean including American and British English. Meaning informs คือ ความหมายของคำศัพท์ ว่าความหมายคืออะไร มีกี่ความหมาย คำศัพท์บางตัว มีหลายความหมายนะคะ นักศึกษาควรจำไว้
    5. Sample sentence shows how to use a word in a sentence. Sample sentence คือ ตัวอย่างประโยคที่แสดงให้ดู
    6. Idiom describes an expression whose meaning is different from the meaning of the individual words. Idiom describes คือสำนวนที่แสดงให้ดูว่าคำศัพท์นั้นสามารถนำมาสร้างเป็น สำนวนได้หรือไม่
    7. Phrasal verb describes a verb that is formed from two or more words: a verb and a preposition such as go on, sit up, take off. Phrasal verb คือ วลี ที่สามารถนำมาสร้างเป็นคำได้ เช่น sit up, take off.

    วันพุธที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554

    context clue reading


     free enterprise system แปลว่า The economic system of countries such as Japan, Canada, Germany, and the United States เพราะ ข้อความหลัง is คือความหมายหรือนิยามของ free enterprise system 

    market แปลว่า -the exchange of goods and services by buyers and sellers. เพราะ เครื่องหมาย - เป็นตัวชี้นำ ซึ่งหลัง - คือนิยามหรือความหมายของ market 

    demand แปลว่า For example, how many tomatoes will consumers buy at various  prices? เพราะ For example เป็นตัวชี้นำ และหน้า demand มีคำว่า This is

    law of demand แปลว่า states that consumers (buyers) usually buy more of a product at a lower price เพราะ หลังคำว่า states เป็นตัวบ่งบอกความต้องการกฎหมาย

    consumers แปลว่า (buyers) usually buy more of a product at a lower price เพราะ เครื่องหมาย ( ) เป็นตัวบ่งบอกความหมายของคำที่อยู่หน้าเครื่องหมาย ( )


    supply แปลว่า How many tomatoes will the sellers product at various prices? เพราะ ข้อความหลัง This is คือความหมายหรือนิยามของ supply

    law of supply แปลว่า states that producers usually supply more of a product at a higher price เพราะ หลังคำว่า states เป็นตัวขยายข้อความของ law of supply

    equilibrium price แปลว่า -so she lowers the price to $1.09 a pound. At this low price, customers soon buy all 500 pounds เพราะ ข้อความหลัง This is คือความหมายหรือนิยามของ equilibrium price

    (OPEC) แปลว่า Organization of the Petroleum Exporting Countries เพราะ เครื่องหมาย ( ) เป็นตัวบ่งบอกความหมายของคำที่อยู่หน้าเครื่องหมาย ( )

    วันจันทร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2554

    Context Clues

    การเดาความหมายโดยใช้บริบท (Context clues)

        เมื่ออ่านเรื่องหรือข้อความที่เป็นภาษาอังกฤษ สิ่งที่ทำให้ไม่เข้าใจคือคำศัพท์ เพื่อจะได้ทราบความหมายของคำศัพท์นักเรียนจะเปิดพจนานุกรม(Dictionary) วิธีการนี้ช่วยนักเรียนได้ก็จริงแต่ทำให้นักเรียนเสียเวลามาก การอ่านหยุดชะงักไม่ต่อเนื่อง มีวิธีการอื่นที่ทำให้นักเรียนทราบความหมายของคำศัพท์ คำใหม่หรือคำที่ไม่คุ้นเคยโดยไม่ต้องเปิดพจนานุกรมคือ การเดาความหมายของศัพท์จากบริบท(Context)
         บริบท (Context clue) หมายถึง คำหรือข้อความที่อยู่แวดล้อมคำศัพท์ที่ไม่ทราบความหมายโดยตรงของคำนั้นหรืออาจใช้ข้อมูลบางอย่างที่ช่วยให้นักเรียนทราบความหมายคำศัพท์ได้
         การเดาความหมายของคำศัพท์จากบริบท มีดังนี้
    1. เดาจากการนิยามศัพท์หรือบอกความหมาย โดยการดูที่ตัวชี้นำ (Clue) ที่มีในประโยค ดังนี้
                            is / are                          คือ
                            mean                            หมายถึง
                            is called / are called        เรียกว่า
    ตัวอย่างประโยค เช่น
    A ship means a big boat.
    ตัวชี้นำ                                คือ                   means
    ข้อความหลังคำว่า means        คือ                  นิยามหรือความหมายของคำว่า ship
    a big boat                           คือ                   นิยามหรือความหมายของ ship
    สรุปว่า ship                          คือ                   เรือใหญ่

    A puppy is a baby dog.
    ตัวชี้นำ                           คือ       is
    ข้อความหลังคำว่า is         คือ       นิยามหรือความหมายของคำว่า puppy
    a baby dog                    คือ       นิยามหรือความหมายของ puppy
    สรุปว่า puppy                 คือ       ลูกสุนัข

    A motion picture is called a movie.
    ตัวชี้นำ                                คือ         is called
    ข้อความหลังคำว่า means       คือ         นิยามหรือความหมายของคำว่า movie
    a big boat                           คือ         นิยามหรือความหมายของ movie
    สรุปว่า movie                       คือ         ภาพที่เคลื่อนไหว หรือภาพยนตร์นั่นเอง

    2. เดาจากการแสดงความขัดแย้ง โดยจะมีคำที่ให้ความหมายตรงข้ามกับคำที่เราไม่ทราบความหมายซึ่งอาจจะอยู่ในประโยคเดียวกันหรือถัดมา ตัวชี้นำ (Clue)นั้นคือ
    but         แต่
    ตัวอย่างประโยคเช่น
    My father is very busy, but my mother is free.
    คำศัพท์ที่ไม่ทราบความหมาย         คือ      busy
    ตัวชี้นำ                                     คือ      but
    คำที่บอกความหมายตรงข้าม                   free
    free       มีความหมายว่า       ว่าง
    busy      มีความหมายว่า       ไม่ว่าง หรือยุ่ง
    ดังนั้น My father is very busy, but my mother is free.
    คือ     พ่อของฉันยุ่งมากแต่แม่ของฉันว่าง

    3. เดาจากการกล่าวซ้ำ โดยใช้ภาษาง่าย ๆ โดยกล่าวซ้ำภายในประโยคเดียวกันแต่ใช้ถ้อยคำที่ต่างกัน ซึ่งตัวชี้นำ (Clue) ความหมาย คือ
    Or             หรือ
    ตัวอย่างประโยคเช่น
    Judy feeds, or gives food to her pigs very day.
    คำศัพท์ที่ไม่ทราบความหมาย      คือ    feed
    ตัวชี้นำ                                  คือ    or
    กล่าวซ้ำความหมายด้วย        gives food
    gives food       หมายความว่า       ให้อาหาร
    ดังนั้น feed       มีหมายความว่า      ให้อาหาร

    4. เดาจากการใช้ตัวอย่าง โดยการให้ตัวอย่างเป็นข้อมูลช่วยในการวิเคราะห์ความหมายคำศัพท์ซึ่งตัวชี้นำ (Clue) ความหมาย คือ
    such as                    เช่น
    for example             ตัวอย่างเช่น
    ตัวอย่างประโยคเช่น
    Students study many subjects; for example, Math, Science, Art and English.
    คำศัพท์ที่ไม่รู้ความหมาย        คือ        subject
    ตัวชี้นำ                               คือ        for example
    ตัวอย่างที่ให้มา                    คือ        Math, Science, Art and English.
    ตัวอย่างที่ยกมา                    คือ        วิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ศิลปะและภาษาอังกฤษ
    ดังนั้นสรุปได้ว่า subject         คือ        วิชา

    5. เดาจากการแสดงความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ถ้าคำศัพท์ที่ไม่ทราบความหมายอยู่ในส่วนที่เป็นเหตุให้พิจารณาที่ข้อความที่เป็นผล และถ้าคำศัพท์อยู่ในส่วนที่เป็นผลให้พิจารณาข้อความที่เป็นเหตุ ตัวชี้นำ (Clue) ความหมายคือ
    so               ดังนั้น
    because       เพราะว่า
    ตัวอย่างประโยคเช่น
    He wants to buy some medicine so he go to the drugstore.
    คำที่ไม่รู้ความหมาย     คือ drugstore ในประโยคผล
    ตัวชี้นำ                     so
    พิจารณาข้อความในประโยคเหตุ        He wants to buy some medicine
    ได้ความว่า          เขาต้องการซื้อยา
    สรุปว่า drugstore  หมายถึงร้ายขายยา เพราะสถานที่สามารถซื้อยาคือร้านขายยา

    Peter can answer the question because it is easy.
    คำที่ไม่รู้ความหมาย    คือ     easyในประโยคเหตุ
    ตัวชี้นำ     because
    พิจารณาข้อความในประโยคเหตุ Peter can answer the question
    ได้ความว่า ปีเตอร์สามารถตอบคำถามได้
    สรุปว่า easy หมายถึง คำถามง่ายจึงทำให้ปีเตอร์สามารถตอบได้

    6. เดาจากประโยคที่กล่าวมาก่อนหรือตามหลัง
    ตัวอย่างประโยคเช่น
    Lisa’s brother is lazy.
    ถ้านักเรียนไม่ทราบความหมายของคำว่า lazy นักเรียนเดาความหมายไม่ได้แต่
    ถ้ามีประโยคเพิ่มขึ้นว่า Lisa’s brother is lazy. He doesn’t work. He likes to sit,
    watches TV and sleep.
    ข้อความหลังคำศัพท์ lazy อธิบายว่าน้องลิซ่าไม่ชอบทำงานชอบนั่งเฉยๆ ดูทีวี
    และนอนหลับ ซึ่งการกระทำเหล่านี้ทำให้ทราบว่า lazy คือ ขี้เกียจ

    7. เดาโดยอาศัยคำแสดงความหมายเหมือน(Synonym) คำที่มีความหมายเหมือนกับ
    คำศัพท์ที่อยู่ในประโยคนั้น ๆ เช่น ตัวชี้นำ (Clue) ที่ให้ความหมายเช่น
    too                ด้วยเหมือนกัน
    also               แล้วก็
    and               และ
    ตัวอย่างประโยคเช่น
    That boy was poor, and that girl was not have money too.
    คำที่ไม่รู้ความหมาย poor
    ตัวชี้นำ and that girl was not have money too.
    พิจารณาจากประโยคว่า ผู้หญิงคนนั้นไม่มีเงินเหมือนกัน
    ได้ความว่า ผู้ชายคนนั้นไม่มีเงิน
    สรุปว่า poor มีความหมายว่า ไม่มีเงินหรือจนนั่นเอง

    8. เดาโดยอาศัยคำตรงข้าม (Antonym) กล่าวคือ บริบทประเภทนี้จะมีคำชี้แนะ(Clue)
    but
    rather than
    in contrast
    nevertheless
    however
    ตัวอย่างประโยคเช่น
    The policeman caught two suspects , but they released them two hours later.
    คำที่ไม่รู้ความหมาย   caught
    ตัวชี้นำ      but they released them two hours later.
    พิจารณาจากประโยคว่า     แต่ถูกปล่อยตัวไปเมื่อ 2 ชั่วโมงต่อมา
    ได้ความได้ว่า     มีการกระทำที่ตรงข้ามกับการปล่อยตัวในเวลาต่อมา
    สรุปว่า caught   มีความหมายตรงข้ามกัน นั่นคือแปลว่า ถูกจับ

    วันจันทร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2554

    Quiz 1

    อาจารย์ค่ะ อย่าหักคะแนนหนูนะค่ะ หนูพึ่งบันทึกได้ค่ะ
    1.circumscribe =ประพันธ์ รอบด้าน
    circum- แปลว่า around = รอบด้าน,โดยรอบ
    scribe แปลว่า to write = เขียน,ประพันธ์
    2.benediction= พูดถูกดี
    Bene- แปลว่า good = ดี
    Dict แปลว่า speak = พูด
    -ion แปลว่า being = ถูก
    3.bibliography = ลักษณะการเขียนหนังสือ
    biblio แปลว่า book = หนังสือ
    graph- แปลว่า write = เขียน
    - y แปลว่า quality= ลักษณะ
    5. Heterogeneousb = ลักษณะพิเศษของเชื้อชาติอื่นๆ
    hetero-แปลว่า other = อื่นๆ
    gen แปลว่า race = เชื้อชาติ
    -ous = characterized by =ลักษณะพิเศษ
    7. Megabyte=ขนาดของข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
    Mega- แปลว่า great = ขนาดใหญ่
    Byte แปลว่า = ขนาดของข้อมูลบนคอมพิวเตอร์
    8. Phonograph= การเขียนแสดงความคิดเห็น
    Phon- แปลว่า voice = แสดงความคิดเห็น
    Graph แลว่า write =เขีย
    9. Portable=ความชำนาญของบุคคลทำกำแพง
    Port แปลว่า gate = กำแพง
    -Able แปลว่า capable of being = ความชำนาญของบุคคล
    10. Supernatural=เหนือธรรมชาติ
    Super – แปลว่า over =เหนือ
    Natural แปลว่า natural = ธรรมชาติ

    วันพฤหัสบดีที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2554

    Root and Affixes

    สรุป
    Prefixes, Suffixes & Roots 
           การเรียนศัพท์จากการวิเคราะห์คำ(word analysis)นั้นเป็นการเรียนศัพท์ที่ถูกต้องทั้งยังช่วยให้ผู้เรียนสามารถจำ ศัพท์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจถึงความหมายที่ซ่อนอยู่ในคำได้เป็นอย่างดี       นอกจากนี้ยังทำให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจคำศัพท์ใหม่ได้ไม่ยากนัก เพราะผู้เรียนเข้าใจถึง รากคำ (root)อุปสรรค(prefixes) และปัจจัย(suffixes) ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในภาษาอังกฤษแล้ว เมื่อเจอศัพท์ใหม่ที่ไม่เคยพบมาก่อนก็จะสามารถเข้าถึงความหมายของศัพท์นั้น ได้ขอแนะนำการเรียนศัพท์ที่ถูกต้องโดยใช้หลักการวิเคราะห์คำ ก่อนอื่นมารู้จักคำว่าหน่วยคำกันเสียก่อน

    หน่วยคำ (Word Parts) คือคำหรือส่วนของคำที่เล็กที่สุดแต่มีความหมาย ในคำ ๆ หนึ่งอาจมีได้มากกว่าหนึ่งหน่วยคำ หน่วยคำมี 3 ประเภทใหญ่ดังนี้
    Prefixes (อุปสรรค)คือ ส่วนของคำที่อยู่หน้าคำบ่งบอกความหมายของคำ
    Suffixes (ปัจจัย) คือ ส่วนของคำที่อยู่ท้ายคำบ่งบอกความหมายและหน้าที่ของคำ
    Root (รากคำ) คือ ส่วนที่เป็นความหมายหลักของคำ อาจอยู่ที่ตำแหน่งใดของคำก็ได้

    1. อุปสรรค (prefix)
        อุปสรรค (Prefix) คือหน่วยที่เล็กที่สุดของความหมายในภาษา และ ไม่สามารถอยู่ลำพังได้ เป็นส่วนที่เติมหน้ารากศัพท์ (root or stem) เพื่อเพิ่มหรือเปลี่ยนความหมายของรากศัพท์นั้น โดยจะไม่เปลี่ยนหน้าที่ของรากศัพท์ ดังนั้นคำที่เกิดขึ้นใหม่ส่วนใหญ่จะมีหน้าที่เหมือนเดิมแต่มีความหมายเพิ่ม เติมหรือเปลี่ยนไป เช่น
    - เปลี่ยนไปในทางตรงกันข้าม
    - เปลี่ยนไปในทางที่ไม่ดี ดีขึ้น แย่ลง
    หรืออาจจะเติมหน้ารากศัพท์เพื่อ บอกทัศนคติ ตำแหน่งที่ตั้ง ลำดับที่ จำนวน

    อุปสรรคที่สำคัญมีดังนี้
    1. อุปสรรค (Prefixes) ที่มีความหมายในเชิงปฏิเสธ "No" หรือ "Not" เช่น
    อุปสรรค.... ความหมาย.... ตัวอย่างคำ
    un................ not............ unfair
    in................. not............ inconvenient
    im................ not............ impossible

    2. อุปสรรค (Prefixes) สถานที่ ตำแหน่ง (Placement) เช่น
    อุปสรรค.... ความหมาย.... ตัวอย่างคำ
    inter......... among....... international
    ex................out........... exclude
    sub............ under........subtitle

    3. อุปสรรค (Prefixes) ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับเวลา (Time) เช่น
    อุปสรรค.... ความหมาย.... ตัวอย่างคำ
    pre............... first......... pre-school
    pro for,........ before..... pro-America
    post.............. after........ post-graduate

    4. อุปสรรค (Prefixes) ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับจำนวนเลข (Number) เช่น
    อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
    tri three tri angular
    uni one unify

    2. Root or Stem
         ราก ศัพท์ (Root or Stem) เป็นส่วนที่แสดงถึงความหมายพื้นฐานหรือความหมายหลัก          (Basic Meaning) ของคำ เมื่อเติม Prefix หรือ Suffix เข้าไปแล้วก็จะเป็นคำขึ้นมา โดยที่ความหมายของรากศัพท์ยังคงเดิมไม่เปลี่ยนความหมายไป รากศัพท์ (roots) เป็นส่วนที่เป็นฐานของคำและเป็นตัวหลักเพื่อสร้างคำอื่น ๆ เพิ่มขึ้น และรากศัพท์เป็นส่วนที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้อีก รากศัพท์อาจเกี่ยวข้องกับจำนวนเลข (Numbers) การวัด (Measurement) การเคลื่อนไหว (Motion) การกระทำ (Action) ความรู้สึก (Senses) คุณภาพ (Quality) กฎหมาย (Law) และสังคม (Social)

    ดังตัวอย่างต่อไปนี้
    รากศัพท์ที่เกี่ยวกับจำนวนเลข (Numbers) เช่น
    รากศัพท์...................... ความหมาย
    semi .......................... one half
    mono.......................... one
    bi................................. two
    cent............................ hundred

    รากศัพท์ที่เกี่ยวกับการวัด (Measurement) เช่น
    รากศัพท์.........................ความหมาย
    graph / graphy............a device to write or record
    meter ...........................a device to measure

    รากศัพท์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (Motion) เช่น
    รากศัพท์..........................ความหมาย
    vent...............................to come

    รากศัพท์ที่เกี่ยวกับการกระทำ (Action) เช่น
    รากศัพท์...........................ความหมาย
    stat / stit / sist..............to stand up

    รากศัพท์ที่เกี่ยวกับความรู้สึก (Senses) เช่น
    รากศัพท์............................ความหมาย
    voc / vok........................voice; to call

    รากศัพท์ที่เกี่ยวกับคุณภาพ (Quality) เช่น
    รากศัพท์............................ความหมาย
    clar...................................bright
    dur...................................hard; strong
    รากศัพท์ที่เกี่ยวกับกฎหมาย (Law) และสังคม (Social) เช่น
    รากศัพท์.............................ความหมาย
    ver.....................................true; to prove
    civ / cit..............................city; government
    cert.....................................to be sure or certain; approve

    ตัวอย่างเช่น
    1. contort = con (ร่วมกัน, ด้วยกัน) เป็น prefix + tort (บิด) เป็นรากศัพท์
    ดังนั้นความหมายของ contort คือ ทำให้คด, งอ, บิด
    2. torsion = tors (บิด) เป็นรากศัพท์ + ion (การ,ความ) เป็น suffix
    ดังนั้นความหมายของ torsion จึงมีความหมายว่า "การบิด"
    3. irremovable = ir (ไม่) เป็น prefix + remove (เคลื่อนย้าย) เป็นรากศัพท์ + able (สามารถ) เป็น suffix
    ดังนั้นความหมายของคำ irremovable จึงมีความหมายว่า "เคลื่อนย้ายไม่ได้"
    4. circumlocution = circum (รอบๆ)เป็น prefix + locu (พูด) เป็นรากศัพท์ + tion (การ , ความ) เป็น suffix ดังนั้นความหมายของ circumlocution จึงมีความหมายว่า "การพูดจาแบบอ้อค้อม"
    5. triarchy = tri (สาม)เป็น prefix + archy (การปกครอง) เป็นรากศัพท์
    ดังนั้น triarchy จึงมีความหมายว่า "การปกครองโดยคน 3 คน "

    3. ปัจจัย (Suffix)
         ปัจจัย คือส่วนที่เติมหลังรากศัพท์มักจะเปลี่ยนความหมายและหน้าที่ของคำด้วย หรือเป็นส่วนหนึ่งของคำที่อยู่ข้างหลังคำหลัก (Base words) หรือรากศัพท์ (Roots) โดยทั่วไป ปัจจัย (Suffixes) ช่วยชี้แนะชนิดของคำ (Parts of speech) เช่นการเติมปัจจัย -er , -ist , -or หลังคำหลัก และทำให้คำหลัก (Base words) เปลี่ยนชนิดของคำเป็นคำนามประเภทของปัจจัย (Suffixes) สรุปได้ดังนี้
    1. ปัจจัยที่ทำให้กริยาเป็นคำนาม คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำกริยา แล้วเปลี่ยนคำหลักเป็นชนิดของคำนาม เช่นปัจจัย..............ตัวอย่างคำ......................ความหมาย
    ation..............combine.......................combination
    ment..............payment......................payment
    er....................paint ........................... painter
    al.....................propose........................proposal

    2. ปัจจัยที่ทำให้คุณศัพท์เป็นคำนาม คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำคุณศัพท์ แล้วเปลี่ยนเป็นชนิดของคำนาม เช่น ปัจจัย...............ตัวอย่างคำ.......................ความหมาย
    ness................kind...............................kindness
    ce....................absent...........................absence
    ism..................human..........................humanism

    3. ปัจจัยที่ทำให้คำนามเป็นคุณศัพท์ คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำนาม แล้วเปลี่ยนเป็นชนิดของคำศัพท์ เช่น ปัจจัย................ตัวอย่างคำ.......................ความหมาย
    ful....................success..........................successful
    ish....................selfish............................selfish

    4. ปัจจัยที่ทำให้คำกริยาเป็นคุณศัพท์ คือ ปัจจัยที่เติมหลังคำกริยา แล้วเปลี่ยนเป็นชนิดของคำคุณศัพท์ เช่นปัจจัย.................ตัวอย่างคำ......................ความหมาย
    ing....................amuse...........................amusing
    able..................remark.........................remarkable
    ive....................creat.............................creative

    แจ้งชื่อ

    นางสาวสุนทรี ฐานคร


     รหัส 51110325  คณะพยาบาลศาสตร์