สรุปการใช้เครื่องหมายต่างๆในภาษาอังกฤษ (Punctuation)
1)เครื่องหมาย full stop หรือ period ( . )
1.1) ใช้ในการจบประโยค ยกเว้นประโยคที่เป็นคำถามหรือประโยคอุทาน
เช่น – We will go for jogging tomorrow morning. After that we will have some-
lunch in the city.
1.2) ใช้ในคำย่อ
เช่น – etc. p.m. Sat.
2)เครื่องหมาย comma ( , )
2.1) ใช้ในการ แยกกลุ่มคำที่อยู่ในหมวดเดียวกันแต่จะถูกละหน้า and หรือ or
เช่น – My favorite fruit are strawberry, apple, papaya, pineapple and durian.
– You can choose fish, pork, beef or chicken for your main course.
2.2) ใช้ในการแยกกลุ่มคำหรืออนุประโยค
เช่น – If you concentrate and participate in class, take note and study hard-
before exam, you will not only pass but also get very good marks.
2.3) ใช้คั่นหน้าและหลังกลุ่มคำหรืออนุประโยคที่ขยายคำนามข้างหน้า
เช่น – The cityhall, which was built in 1853, will be reconstructed in next year.
2.4) ใช้คั่นระหว่างประโยคสองประโยคที่มี คำเชื่อม เช่น and, as, but, for, or
เช่น – I wanted to go to Fenny’s birthday party last night, but unfortunately-
I was busy with my work.
2.5) ใช้คั่นคำขึ้นต้นที่เป็นคำ, กลุ่มคำ, กริยา หรือกลุ่มคำที่เป็นกริยาช่วยที่ประยุกต์ใชักับประโยคทั้งประโยค
เช่น – As mentioned before, our organization will start the new management-
system next year.
– By the way, did you go to see “Blue” concert last night?
3) เครื่องหมาย colon ( : )
3.1) ใช้เพื่อแยกประโยคหลักเพื่อนำเข้าสู่กลุ่มคำที่อยู่ในหมวดหมู่นั้นที่เป็น ลำดับขั้นตอนหรือเป็นเหตุเป็นผล
เช่น – These are our company long-term goals: to spread our product in Asian-
market especially HongKong, Taiwan and China; and to increase 3 % in-
sale volume.
– You have only two choices: go to Chiang Mai with us; or stay home with-
your family.
3.2) ใช้เพื่อขยายกลุ่มคำหรืออนุประโยคกับประโยคหลัก ซึ่งเป็นการเขียนแบบเป็นทางการ
เช่น – The situation in Ethiopia is very serious: many people died because of starve.
4) เครื่องหมาย semicolon ( ; )
4.1) ในการคั่นประโยคสามารถใช้ semicolon แทนเครื่องหมาย comma ( , )
ได้หากประโยคนั้นมีเครื่องหมาย comma อยู่แล้ว
เช่น – He will follow through his aim; he will not care whatever the cost,
even it has effect on someone.
4.2) ใช้ในการเขียนที่เป็นทางการเพื่อคั่นระหว่างอนุประโยค2ประโยคที่ไม่มี
คำ เชื่อมแต่มีความหมายเกี่ยวเนื่อง
เช่น – It looks very cloudy today; it might rain soon.
5) เครื่องหมาย question mark (?)
5.1) ใช้วางท้ายสุดในประโยคคำถาม,
เช่น – Are you ready to go? Where have you been?
5.2) ใช้เฉพาะกับ วันเดือนปี เพื่อความสงสัย
เช่น – John Marston (?1575-1634)
6) เครื่องหมาย exclamation (!)
ใช้วางหลังประโยคเพื่อแสดงอาการ ตื่นเต้น ดีใจ โกรธ หรือ ตกใจ หรือประโยคคำสั่ง
เช่น – That’s so great!
– What! It’s impossible.
– Go to your bed!
7) เครื่องหมาย apostrophe (‘)
7.1) ใช้คู่กับ s เพื่อแสดงความเกี่ยวดองหรือเป็นเจ้าของ
เช่น – Jane’s coat
– Joe’s girlfriend
– my sister’s friend
7.2) เพื่อทำให้รูปแบบสั้นขึ้นโดยใช้ละแทนตัวอักษรหรือตัวเลขนั้น
เช่น – He’s (He is)
– You’re (You are)
– They’d (would)
– the summer of’ 99 (1999)
7.3) บางครั้งใช้กับ s เพื่อทำให้เป็นรูปพหูพจน์ต่อจากตัวอักษรย่อหรือตัวเลขย่อ
เช่น – lend me your r’s
– during 1980′s
8)เครื่องหมาย hyphen (-)
8.1) ใช้ในการผสมคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป
เช่น – pipe-cleaner
– one-to-one
8.2) ใช้ในการสร้างคำใหม่จาก prefix (คำอุปสรรค) กับคำนามเฉพาะ
เช่น – pre-Neolism
– pro-European
8.3) ใช้คั่นระหว่างการเขียนเลขจำนวน 21 ถึง 99
เช่น – 69 sixty-nine
– 23 twenty -three
8.4)ใช้คั่นระหว่าง prefix ที่ลงท้ายด้วยสระซึ่งเป็นตัวเดียวกับคำขึ้นต้นของคำนามที่นำมาผสม
เช่น – co-ordinator
– pre-emption
8.5) ใช้เชื่อมคำๆเดียวที่อยู่ต่อกันระหว่างบรรทัด
เช่น – We may choose to withdraw and protect ourselves from pain.
9) เครื่องหมาย dash (–)
9.1) ใช้ในการเขียนอย่างไม่เป็นทางการ แทนเครื่องหมาย colon หรือ semicolon
เพื่อบ่งชี้ว่าข้อความที่ตามมานั้นเป็นบทสรุปจากข้อความที่กล่าวมาข้างหน้า
เช่น – Lucy looks very happy today and so do Paul-they are in love.
9.2) ใช้คั่นระหว่างคำวิจารณ์ หรือ ความคิดที่เพิ่มเติมในภายหลัง
เช่น – He knows every scope of this job— or he did it before.
10) เครื่องหมาย dots หรือ ellipsis (…)
ใช้เพื่อละความยาวของข้อความ มักจะเป็นข้อความที่อ้างอิงมาจากผู้อื่นหรือ
บท สนทนาที่มีความยาว
เช่น “Romance not only light a candle or bring home flowers, it builds
bridge of friendship, caring …to the arms of his or her eager love.”
( Yagel: 19, 1995)
11) เครื่องหมาย slash หรือ oblique ( / )
ใช้คั่นระหว่าง คำที่เสนอวิธีเลือกหรือกลุ่มคำ
เช่น – have a coffee/ tea /or orange juice
– shirt/ pants/ blouse/skirt
12) เครื่องหมาย quotation marks (‘ ‘, ” “)
12.1) ใช้ล้อมคำและเครื่องหมายในประโยค direct speech (คำพูดทางตรง)
เช่น – ‘What time will he arrive here?’ John asked.
– ‘Around 6.00 p.m.’ Kate replied.
12.2) ใช้เพื่อดึงดูดความสนใจว่าคำนั้น แปลกไปจากบริบท มักใช้ใน ข้อความที่เป็นแสลง
หรือ คำที่บ่งชี้ความตรงกันข้ามกัน (irony)
เช่น – People look stress and lifeless in the country named ‘land of smile’.
12.3) ใช้เน้นคำเฉพาะที่เป็นชื่อบทความ, หนังสือ, โคลงกลอน, ละครหรือการแสดง
เช่น – I am going to see ‘Shakespeare in love’.
– Hemmingway’s ‘The old man and the sea’
12.4) ใช้ล้อมข้อความอ้างอิงสั้นๆหรือคำพูด
เช่น – One way to build a good communication is ‘sharing motions that we-
favor ignoring’
12.5) หากเป็นคำอ้างอิงที่ซ้อนอยู่ในประโยคอ้างอิงจะมีลักษณะการใช้ดังต้อไปนี้
เช่น – ‘Have you any idea,’ he said, ‘where “Ryan Street” is?’
(หรือ)
“Have you any idea,” he said, “where ‘Ryan Street’ is?”
13) เครื่องหมาย brackets หรือ parentheses ( )
13.1) ใช้เพื่อแยกข้อมูลพิเศษ หรือ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ภายในประโยคหรือท้ายประโยค
เช่น – Phi Phi Island (lies about 3 km from the mainland) comprises two islands.
– Kiwi now (originated from China) is a very famous fruit in NewZealand.
13.2) ใช้ล้อม การอ้างอิงไปยังหน้าอื่นของหนังสือ
เช่น – Body language is an important part of effective communication
(see next chapter).
13.3) ใช้ล้อมตัวเลข หรือ อักษรในข้อความ
เช่น – The main subjects in this chapter are (1) Strategic business unit-
(2) Strategic thinking process (3) Strategic evaluation.
1)เครื่องหมาย full stop หรือ period ( . )
1.1) ใช้ในการจบประโยค ยกเว้นประโยคที่เป็นคำถามหรือประโยคอุทาน
เช่น – We will go for jogging tomorrow morning. After that we will have some-
lunch in the city.
1.2) ใช้ในคำย่อ
เช่น – etc. p.m. Sat.
2)เครื่องหมาย comma ( , )
2.1) ใช้ในการ แยกกลุ่มคำที่อยู่ในหมวดเดียวกันแต่จะถูกละหน้า and หรือ or
เช่น – My favorite fruit are strawberry, apple, papaya, pineapple and durian.
– You can choose fish, pork, beef or chicken for your main course.
2.2) ใช้ในการแยกกลุ่มคำหรืออนุประโยค
เช่น – If you concentrate and participate in class, take note and study hard-
before exam, you will not only pass but also get very good marks.
2.3) ใช้คั่นหน้าและหลังกลุ่มคำหรืออนุประโยคที่ขยายคำนามข้างหน้า
เช่น – The cityhall, which was built in 1853, will be reconstructed in next year.
2.4) ใช้คั่นระหว่างประโยคสองประโยคที่มี คำเชื่อม เช่น and, as, but, for, or
เช่น – I wanted to go to Fenny’s birthday party last night, but unfortunately-
I was busy with my work.
2.5) ใช้คั่นคำขึ้นต้นที่เป็นคำ, กลุ่มคำ, กริยา หรือกลุ่มคำที่เป็นกริยาช่วยที่ประยุกต์ใชักับประโยคทั้งประโยค
เช่น – As mentioned before, our organization will start the new management-
system next year.
– By the way, did you go to see “Blue” concert last night?
3) เครื่องหมาย colon ( : )
3.1) ใช้เพื่อแยกประโยคหลักเพื่อนำเข้าสู่กลุ่มคำที่อยู่ในหมวดหมู่นั้นที่เป็น ลำดับขั้นตอนหรือเป็นเหตุเป็นผล
เช่น – These are our company long-term goals: to spread our product in Asian-
market especially HongKong, Taiwan and China; and to increase 3 % in-
sale volume.
– You have only two choices: go to Chiang Mai with us; or stay home with-
your family.
3.2) ใช้เพื่อขยายกลุ่มคำหรืออนุประโยคกับประโยคหลัก ซึ่งเป็นการเขียนแบบเป็นทางการ
เช่น – The situation in Ethiopia is very serious: many people died because of starve.
4) เครื่องหมาย semicolon ( ; )
4.1) ในการคั่นประโยคสามารถใช้ semicolon แทนเครื่องหมาย comma ( , )
ได้หากประโยคนั้นมีเครื่องหมาย comma อยู่แล้ว
เช่น – He will follow through his aim; he will not care whatever the cost,
even it has effect on someone.
4.2) ใช้ในการเขียนที่เป็นทางการเพื่อคั่นระหว่างอนุประโยค2ประโยคที่ไม่มี
คำ เชื่อมแต่มีความหมายเกี่ยวเนื่อง
เช่น – It looks very cloudy today; it might rain soon.
5) เครื่องหมาย question mark (?)
5.1) ใช้วางท้ายสุดในประโยคคำถาม,
เช่น – Are you ready to go? Where have you been?
5.2) ใช้เฉพาะกับ วันเดือนปี เพื่อความสงสัย
เช่น – John Marston (?1575-1634)
6) เครื่องหมาย exclamation (!)
ใช้วางหลังประโยคเพื่อแสดงอาการ ตื่นเต้น ดีใจ โกรธ หรือ ตกใจ หรือประโยคคำสั่ง
เช่น – That’s so great!
– What! It’s impossible.
– Go to your bed!
7) เครื่องหมาย apostrophe (‘)
7.1) ใช้คู่กับ s เพื่อแสดงความเกี่ยวดองหรือเป็นเจ้าของ
เช่น – Jane’s coat
– Joe’s girlfriend
– my sister’s friend
7.2) เพื่อทำให้รูปแบบสั้นขึ้นโดยใช้ละแทนตัวอักษรหรือตัวเลขนั้น
เช่น – He’s (He is)
– You’re (You are)
– They’d (would)
– the summer of’ 99 (1999)
7.3) บางครั้งใช้กับ s เพื่อทำให้เป็นรูปพหูพจน์ต่อจากตัวอักษรย่อหรือตัวเลขย่อ
เช่น – lend me your r’s
– during 1980′s
8)เครื่องหมาย hyphen (-)
8.1) ใช้ในการผสมคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป
เช่น – pipe-cleaner
– one-to-one
8.2) ใช้ในการสร้างคำใหม่จาก prefix (คำอุปสรรค) กับคำนามเฉพาะ
เช่น – pre-Neolism
– pro-European
8.3) ใช้คั่นระหว่างการเขียนเลขจำนวน 21 ถึง 99
เช่น – 69 sixty-nine
– 23 twenty -three
8.4)ใช้คั่นระหว่าง prefix ที่ลงท้ายด้วยสระซึ่งเป็นตัวเดียวกับคำขึ้นต้นของคำนามที่นำมาผสม
เช่น – co-ordinator
– pre-emption
8.5) ใช้เชื่อมคำๆเดียวที่อยู่ต่อกันระหว่างบรรทัด
เช่น – We may choose to withdraw and protect ourselves from pain.
9) เครื่องหมาย dash (–)
9.1) ใช้ในการเขียนอย่างไม่เป็นทางการ แทนเครื่องหมาย colon หรือ semicolon
เพื่อบ่งชี้ว่าข้อความที่ตามมานั้นเป็นบทสรุปจากข้อความที่กล่าวมาข้างหน้า
เช่น – Lucy looks very happy today and so do Paul-they are in love.
9.2) ใช้คั่นระหว่างคำวิจารณ์ หรือ ความคิดที่เพิ่มเติมในภายหลัง
เช่น – He knows every scope of this job— or he did it before.
10) เครื่องหมาย dots หรือ ellipsis (…)
ใช้เพื่อละความยาวของข้อความ มักจะเป็นข้อความที่อ้างอิงมาจากผู้อื่นหรือ
บท สนทนาที่มีความยาว
เช่น “Romance not only light a candle or bring home flowers, it builds
bridge of friendship, caring …to the arms of his or her eager love.”
( Yagel: 19, 1995)
11) เครื่องหมาย slash หรือ oblique ( / )
ใช้คั่นระหว่าง คำที่เสนอวิธีเลือกหรือกลุ่มคำ
เช่น – have a coffee/ tea /or orange juice
– shirt/ pants/ blouse/skirt
12) เครื่องหมาย quotation marks (‘ ‘, ” “)
12.1) ใช้ล้อมคำและเครื่องหมายในประโยค direct speech (คำพูดทางตรง)
เช่น – ‘What time will he arrive here?’ John asked.
– ‘Around 6.00 p.m.’ Kate replied.
12.2) ใช้เพื่อดึงดูดความสนใจว่าคำนั้น แปลกไปจากบริบท มักใช้ใน ข้อความที่เป็นแสลง
หรือ คำที่บ่งชี้ความตรงกันข้ามกัน (irony)
เช่น – People look stress and lifeless in the country named ‘land of smile’.
12.3) ใช้เน้นคำเฉพาะที่เป็นชื่อบทความ, หนังสือ, โคลงกลอน, ละครหรือการแสดง
เช่น – I am going to see ‘Shakespeare in love’.
– Hemmingway’s ‘The old man and the sea’
12.4) ใช้ล้อมข้อความอ้างอิงสั้นๆหรือคำพูด
เช่น – One way to build a good communication is ‘sharing motions that we-
favor ignoring’
12.5) หากเป็นคำอ้างอิงที่ซ้อนอยู่ในประโยคอ้างอิงจะมีลักษณะการใช้ดังต้อไปนี้
เช่น – ‘Have you any idea,’ he said, ‘where “Ryan Street” is?’
(หรือ)
“Have you any idea,” he said, “where ‘Ryan Street’ is?”
13) เครื่องหมาย brackets หรือ parentheses ( )
13.1) ใช้เพื่อแยกข้อมูลพิเศษ หรือ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ภายในประโยคหรือท้ายประโยค
เช่น – Phi Phi Island (lies about 3 km from the mainland) comprises two islands.
– Kiwi now (originated from China) is a very famous fruit in NewZealand.
13.2) ใช้ล้อม การอ้างอิงไปยังหน้าอื่นของหนังสือ
เช่น – Body language is an important part of effective communication
(see next chapter).
13.3) ใช้ล้อมตัวเลข หรือ อักษรในข้อความ
เช่น – The main subjects in this chapter are (1) Strategic business unit-
(2) Strategic thinking process (3) Strategic evaluation.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น